การจัดการโลจิสติกส์แบบลีน LEAN LOGISTICS

Current Time 0:00
/
Duration Time 0:00
Progress: NaN%

ราคา

ซื้อคอร์สนี้ : 2,990.00 ฿

เรียนได้ทุกที่ทุกเวลา ตลอดชีพ

เนื้อหาทั้งหมด 20 วิดีโอ ความยาวรวมกัน 4 ชั่วโมง 12 นาที

เรียนรู้เรื่องการจัดการคลังสินค้าแบบ Lean Logistics

แนวคิดในการบริหารจัดการการผลิต หรือองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูงสุด

เกี่ยวกับคอร์สนี้

คำอธิบายคอร์สออนไลน์
ลีน (Lean) หมายถึง แนวคิดในการบริหารจัดการการผลิต หรือองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยปราศจากความสูญเปล่า (Waste) ในทุก ๆ กระบวนการไม่ว่าจะเป็นกระบวนการทางโลจิสติกส์ หรือกระบวนการในสายการผลิตไปจนถึงตอบสนองความต้องการของตลาดไปถึงลูกค้าแบบทันที โดยเน้นสร้างประสิทธิผลสูงสุด และลดการสูญเสียในวงจรการผลิตที่มุ่นเน้นในเรื่องการไหล (Flow) ของงานเป็นหลัก แนวคิด Lean Thanking การเปลี่ยนจาก ความสูญเปล่า (waste) ไปสู่ คุณค่า (value) ในมุมมองของผู้รับ ผลงาน ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอย่างไม่รู้จบ

เนื้อหาที่จะได้เรียนรู้ภายในคอร์ส
บทที่ 1 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
บทที่ 2 กิจกรรมทางด้านโลจิสติกส์
บทที่ 3 ต้นทุนด้านโลจิสติกส์ทั้ง 4 ตัว
บทที่ 4 ตัวชี้วัดกิจกรรมทางด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
บทที่ 5 13 ตัวชี้วัดทางด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
บทที่ 6 แนวคิดการนำระบบ LEAN มาใช้ในงานด้านโลจิสติกส์
บทที่ 7 ความสูญเปล่า 9 Wastes มาใช้ในงานด้านโลจิสติกส์
บทที่ 8 การจำแนกประเภทของงาน VA / NVA / NNVA มาใช้ในงานด้านโลจิสติกส์
บทที่ 9 ทำไมต้องเขียนสายธารคุณค่า Value Stream Mapping (Current State)
บทที่ 10 ขั้นตอนที่ 1 การเลือกสายธารคุณค่า Value Stream Mapping (Current State)
บทที่ 11 ขั้นตอนที่ 2 สัญลักษณ์และความหมาย
บทที่ 12 ขั้นตอนที่ 3-6 การเขียนสายธารคุณค่า Value Stream Mapping (Current State)
บทที่ 13 ขั้นตอนที่ 7 คำนวณประสิทธิภาพการผลิต และจำนวนคน Takt Time
บทที่ 14 ขั้นตอนที่ 8 การเลือกหัวข้อปรับปรุง KAIZEN
บทที่ 15 การวาดสายธารคุณค่า Value Stream Mapping (Future State)
บทที่ 16 เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาโดยใช้ 5 Why
บทที่ 17 เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาโดยใช้ผังก้างปลา
บทที่ 18 การเลือกหัวข้อการปรับปรุง
บทที่ 19 การกำหนดแผนการปรับปรุง

ผู้สอน

สุรศักดิ์ พรบรรเจิดกุล

ที่ปรึกษาทางด้านระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

หลักสูตรของคอร์สนี้

การจัดการโลจิสติกส์แบบลีน LEAN LOGISTICS
ตัวอย่าง หลักสูตรการจัดการโลจิสติกส์แบบลีน LEAN LOGISTICS
6:01
1. การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
15:07
2. กิจกรรมทางด้านโลจิสติกส์
8:16
3. ต้นทุนด้านโลจิสติกส์ทั้ง 4 ตัว
27:26
4. ตัวชี้วัดกิจกรรมทางด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
9:29
5. 13 ตัวชี้วัดทางด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
27:00
6. แนวคิดการนำระบบ LEAN มาใช้ในงานด้านโลจิสติกส์
9:38
7. ความสูญเปล่า 9 Wastes มาใช้ในงานด้านโลจิสติกส์
30:45
8. การจำแนกประเภทของงาน VA / NVA / NNVA มาใช้ในงานด้านโลจิสติกส์
6:37
9. ทำไมต้องเขียนสายธารคุณค่า Value Stream Mapping (Current State)
5:33
10. ขั้นตอนที่ 1 การเลือกสายธารคุณค่า Value Stream Mapping (Current State)
14:52
11. ขั้นตอนที่ 2 สัญลักษณ์และความหมาย
9:05
12. ขั้นตอนที่ 3-6 การเขียนสายธารคุณค่า Value Stream Mapping (Current State)
17:18
13. ขั้นตอนที่ 7 คำนวณประสิทธิภาพการผลิต และจำนวนคน Takt Time
12:04
14. ขั้นตอนที่ 8 การเลือกหัวข้อปรับปรุง KAIZEN
3:58
15. การวาดสายธารคุณค่า Value Stream Mapping (Future State)
11:46
16. เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาโดยใช้ 5 Why
8:15
17. เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาโดยใช้ผังก้างปลา
14:17
18. การเลือกหัวข้อการปรับปรุง
6:24
19. การกำหนดแผนการปรับปรุง
8:30