ไคเซ็น (KAIZEN) พัฒนาและปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง

Current Time 0:00
/
Duration Time 0:00
Progress: NaN%

ราคา

ซื้อคอร์สนี้ : 2,990.00 ฿

เรียนได้ทุกที่ทุกเวลา ตลอดชีพ

เนื้อหาทั้งหมด 30 วิดีโอ ความยาวรวมกัน 4 ชั่วโมง 10 นาที

เรียนรู้และทำความเข้าใจในหลักการบริหารแบบไคเซ็น (KAIZEN)

พร้อมเรียนรู้แนวคิดการวิเคราะห์ ระดมความคิด และแผนการปรับปรุงพัฒนาบุคลากรและองค์กร

เกี่ยวกับคอร์สนี้

รายละเอียดคอร์สออนไลน์
หลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรที่เน้นพัฒนาบุคลากร เพื่อที่จะสามารถร่วมกันพัฒนาองค์กรได้ต่อไปในอนาคต ตามหลักการของ ไคเซ็น (KAIZEN) ที่จะช่วยเปลี่ยนแปลงบทบาท หน้าที่ และการทำงานของบุคลากรให้มีการพัฒนาขึ้น และทำงานร่วมกันเพื่อพัฒนาองค์กรได้อย่างต่อเนื่อง

เนื้อหาที่จะได้เรียนรู้ภายในคอร์ส
- ความหมาย ไคเซ็น (KAIZEN)
- ปัญหาคืออะไร
- ขั้นตอนการค้นหาปัญหา
- แนวคิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง PDCA
- บทบาทของผู้บริหารและพนักงาน
- ขั้นตอนการทำ KAIZEN
- เข้าใจความแตกต่างของมนุษย์
- การจัดตั้งทีมงาน
- การระดมสมอง Brain Storming
- อุปสรรคในกระบวนการทำงาน 3 MU
- ความสูญเปล่า 8 ประการ
- แนวทางการลดความสูญเปล่า 8 ประการ
- การจำแนกประเภทของงาน VA/NVA
- แผนภูมิการไหลของกระบวนการ (Flow Process Chart)
- หลักการ ECRS
- การเลือกหัวข้อทำ KAIZEN
- การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาด้วย Why-Why Analysis
- การวิเคราะห์สาเหตุด้วย ผังก้างปลา (Fishbone Diagram)
- การเขียนแผนปรับปรุง
- การเขียน A3 Report
- การรักษาและขยายกิจกรรมไคเซ็น

ผู้เรียนจำเป็นต้องมีความรู้ใดมาก่อนหรือไม่
สำหรับคอร์สนี้ ผู้เรียนไม่จำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานใด ๆ ก็สามารถเริ่มต้นเรียนรู้และทำความเข้าใจไปพร้อมกันได้

ผู้สอน

สุรศักดิ์ พรบรรเจิดกุล

ที่ปรึกษาทางด้านระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

หลักสูตรของคอร์สนี้

ตัวอย่างหลักสูตร ไคเซ็น (KAIZEN) พัฒนาและปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง
ตัวอย่างหลักสูตร ไคเซ็น (KAIZEN) พัฒนาและปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง
2:11
แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test)
ดาวน์โหลดเอกสารสำหรับผู้เรียน
Download ไฟล์สำหรับการเรียน
0:10
บทที่ 1 ความหมาย ไคเซ็น (KAIZEN)
1.1 ไคเซ็น (Kaizen) พัฒนาคน พัฒนาองค์กร สู่ความยั่งยืน
3:00
1.2 ความหมาย ไคเซ็น (KAIZEN)
8:19
บทที่ 2 ปัญหาคืออะไร
2. ปัญหาคืออะไร
8:09
บทที่ 3 ขั้นตอนการค้นหาปัญหา
3. ขั้นตอนการค้นหาปัญหา
13:29
บทที่ 4 แนวคิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง PDCA
4. แนวคิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง PDCA
9:09
บทที่ 5 บทบาทของผู้บริหารและพนักงาน
5. บทบาทของผู้บริหารและพนักงาน
10:12
บทที่ 6 ขั้นตอนการทำ KAIZEN
6. ขั้นตอนการทำ KAIZEN
10:17
บทที่ 7 เข้าใจความแตกต่างของมนุษย์
7. เข้าใจความแตกต่างของมนุษย์
21:04
บทที่ 8 การจัดตั้งทีมงาน
8. การจัดตั้งทีมงาน
4:09
บทที่ 9 การระดมสมอง Brain Storming
9. การระดมสมอง Brain Storming
5:28
บทที่ 10 อุปสรรคในกระบวนการทำงาน 3 MU
10. อุปสรรคในกระบวนการทำงาน 3 MU
3:31
บทที่ 11 ความสูญเปล่า 8 ประการ
11.1 ความสูญเปล่า ประการที่ 1 - 2
9:21
11.2 ความสูญเปล่า ประการที่ 3 - 4
18:40
11.3 ความสูญเปล่า ประการที่ 5 - 6
8:16
11.4 ความสูญเปล่า ประการที่ 7 - 9
10:09
บทที่ 12 แนวทางการลดความสูญเปล่า 8 ประการ
12.1 แนวทางการลดความสูญเปล่า ประการที่ 1 - 2
6:35
12.2 แนวทางการลดความสูญเปล่า ประการที่ 3 - 4
7:47
12.3 แนวทางการลดความสูญเปล่า ประการที่ 5 - 6
6:34
12.4 แนวทางการลดความสูญเปล่า ประการที่ 7 - 9
3:43
บทที่ 13 การจำแนกประเภทของงาน VA/NVA
13. การจำแนกประเภทของงาน VA/NVA
8:55
บทที่ 14 แผนภูมิการไหลของกระบวนการ (Flow Process Chart)
14. แผนภูมิการไหลของกระบวนการ (Flow Process Chart)
12:21
บทที่ 15 หลักการ ECRS
15. หลักการ ECRS
9:01
บทที่ 16 การเลือกหัวข้อทำ KAIZEN
16. การเลือกหัวข้อทำ KAIZEN
6:42
บทที่ 17 การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาด้วย Why-Why Analysis
17. การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาด้วย Why-Why Analysis
10:33
บทที่ 18 การวิเคราะห์สาเหตุด้วย ผังก้างปลา (Fishbone Diagram)
18. การวิเคราะห์สาเหตุด้วย ผังก้างปลา (Fishbone Diagram)
13:45
บทที่ 19 การเขียนแผนปรับปรุง
19. การเขียนแผนปรับปรุง
5:44
บทที่ 20 การเขียน A3 Report
20. การเขียน A3 Report
7:59
บทที่ 21 การรักษาและขยายกิจกรรมไคเซ็น
21. การรักษาและขยายกิจกรรมไคเซ็น
5:22
แบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test)